รับผลิตถังบำบัดน้ำเสียทรงแคปซูลขนาดใหญ่

รหัสสินค้า 11957

ชื่อ : รับผลิตถังบำบัดน้ำเสียทรงแคปซูลขนาดใหญ่
รุ่น : -
ราคา : ติดต่อผู้ขาย

รายละเอียด : 
รับผลิตถังบำบัดน้ำเสียทรงแคปซูลขนาดใหญ่

 

จำนวนผู้เข้าชมสินค้า 3990 คน


 

ถังบำบัดน้ำเสียชนิดเติมอากาศ (Aerobic Treatment Tank)

คุณสมบัติทั่วไป 
    ผลิตจากวัสดุcomposite materialชนิดเส้นใยแก้วไฟเบอร์กลาสคุณภาพสูงเสริมแรงด้วยโพลีเมอร์ชนิดคัด พิเศษ(Fiberglass Reinforced Polyester)โดยกรรมวิธีการผลิตอันทันสมัย โดยใช้เครื่องจักรพันไขว้ (Filament Cross Winding Method) คำนวน ควบคุมอัตราส่วนเส้นใยและโพลีเมอร์อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้ได้โครงสร้างตัวถังแข็งแรง ทนทาน น้ำหนักเบา ตัวโพลีเอสเทอร์ทนทานต่อการกัดกร่อนของน้ำเสียและสารเคมี ทนความร้อนและอุณหภูมิสูงของน้ำเสียได้ดี อายุการใช้งานยาวนานกว่า20ปี เหมาะ สำหรับ อาคารขนาดใหญ่ เช่น อพาร์ทเมนต์ คอนโดมีเนียม อาคารสำนักงาน อาคารพานิชย์ โรงงาน โรงพยาบาล ที่ต้องการบำบัดให้น้ำทิ้ง มีค่าความสกปรกผ่านเกณฑ์กำหนดสูงสุดตามประเภทมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ง อาคารประเภท ก-ง

  

 

คุณสมบัติเด่นของ"Newstar"
สำหรับ ถังขนาดใหญ่ ตัวถังผลิตโดยกระบวนโดยใช้เครื่องจักรพันไขว้(Filament Cross Winding Method)ควบคุมอัตราส่วนเส้นใยและโพลีเมอร์อย่างเหมาะสม ทำให้ได้โครงสร้างแข็งแรง ฝาถัง คอถังและขารองรับถัง ผลิตจากโดยวิธีแฮนด์เลย์(Hand Lay UP)และเป็นเนื้อเดียวกับตัวถัง

หลักการทำงานของถังบำบัดน้ำเสียชนิดบำบัดเติมอากาศ
เป็นแบบถังรวมที่ประกอบด้วย

1)ส่วนเกรอะ
2)ส่วนบำบัดไร้อากาศ
3)ส่วนตกตะกอนในใบเดียวกัน

ส่วนที่ 1. Seption Zone อาศัยหลักการตกตะกอน และ การย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยการแยกตัวเองของแข็งที่ปนอยู่ในน้ำทิ้งและการย่อยสลายตะกอนจมและตะกอน ลอย(Digestion Of Sludge And Scum)โดยแบคทีเรียที่อยู่ก้นถังและภายในถัง ตามขบวนการย่อยสลายแบบไร้อากาศเกิดก๊าชมีเทน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไฮโดรเจน เชลล์ใหม่ น้ำ ความร้อน ปุ๋ย จนกระทั้งเหนือตะกอนส่วนน้อยที่จะแปลสะภาพเป็นกากตะกอนคงตัวที่ไม่ย่อยสลาย อีกต่อไป
ส่วนที่ 2. Fixed Film Aeration Zone เป็นส่วนที่ย่อยสลายสารอินทรีย์แบบเติมอากาศ ภายในส่วนนี้จะมีตัวกลาง( Bio cell) เพื่อให้จุลินทรีย์ชนิดใช้อากาศ(aerobic Bacteria) จะบำบัดน้ำ ที่ผ่านจาก Septic Zone เพื่อการย่อยสลายสารอินทรีย์ยึดเกาะเป็นฟิล์มชีวภาพให้มีประสิทธิภาพดียิ่ง ขึ้น ในส่วนนี้จะมีประสิทธิภาพในการบำบัดถึง 80-85 %น้ำที่ผ่านการบำบัดจะมีค่าบีโอดีต่ำ สามารถปล่อยสู่แหล่งน้ำสาธารณะได้
ส่วนที่ 3. Sedimentetion Zone หลักการทำงานของส่วนตกตะกอน เพื่อแยกตะกอนจุลินทรีย์ออกจากน้ำที่บำบัดแล้วให้ได้น้ำใส ก่อนระบายลงสู่ลำรางสาธารณะต่อไป

ส่วนประกอบถัง
1. ฝาถัง TANK COVER
2. ท่อน้ำเข้า INLET
3. ท่อน้ำออก OUTLET
4. เครื่องเติมอากาศ AIR BLOWER
5. ท่อจ่ายอากาศ AIRVENT
6. RIB
7. ขาตั้ง STAND
8. ข้อต่ออ่อน FLEXIBLE JOINT
9. ท่อระบายอากาศ AIRVENT




ตารางรายละเอียดของถังบำบัดน้ำเสียไฟเบอร์กลาสชนิดเกรอะ/เติมอากาศ/ตกตะกอน

รุ่น
Model

Maximium
Flow

(cu.m./day)

Optimium
Flow

(cu.m./day)

ความกว้าง
Diameter
(m.)

ความสูง
Height
(m.)

ความยาว
Length
(m.)

ขนาดท่อ
Pipe

ท่อระบาย
Vent

SAE-10,000

10

7.5

2.00

2.20

3.20

6"

2"

SAE-15,000

15

11.25

2.00

2.20

4.80

6"

2"

SAE-20,000

20

15.0

2.00

2.20

6.40

6"

2"

SAE-25,000

25

18.75

2.00

2.20

8.00

6"

2"

SAE-30,000

30

22.5

2.50

2.70

6.10

6"

2"

SAE-35,000

35

26.25

2.50

2.70

7.10

6"

2"

SAE-40,000

40

30

2.50

2.70

8.20

6"

2"

SAE-50,000

50

37.5

2.50

2.70

10.20

6"

2"

SAE-60,000

60

45

2.50

2.70

12.20

6"

2"

 
 
 

สำหรับน้ำเสียชุมชน(Domestic Waste) BOD in = 250 mg/l ,BOD out =20 mg/l

หลักการของทำงานถังบำบัดน้ำเสียชนิดบำบัดเติมอากาศ แบบที่2 
เป็นแบบถังรวมที่ประกอบด้วย

1) ส่วนเกรอะ
2) ส่วนบำบัดไร้อากาศ
3) ส่วนเติมอากาศ
4) ส่วนตกตะกอนในใบเดียวกัน

ส่วนที่ 1. Seption Zone อาศัยหลักการตกตะกอน และ การย่อยสลายสารอินทรีย์ โดยการแยกตัวเองของแข็งที่ปนอยู่ในน้ำทิ้งและการย่อยสลายตะกอนจมและตะกอน ลอย(Digestion Of Sludge And Scum) โดยแบคทีเรียที่อยู่ก้นถังและภายในถัง ตามขบวนการย่อยสลายแบบไร้อากาศเกิดก๊าชมีเทน คาร์บอนไดออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไฮโดรเจน เชลล์ใหม่ น้ำ ความร้อน ปุ๋ย จนกระทั้งเหนือตะกอนส่วนน้อยที่จะแปลสะภาพเป็นกากตะกอนคงตัวที่ไม่ย่อยสลาย อีกต่อไป
ส่วนที่ 2. Anaerobic Bio Filter Zone เป็นส่วนที่ย่อยสลายสารอินทรีย์แบบไม่ใช้อากาศ ภายในส่วนนี้จะมีตัวกลางชีวภาพ ( Bio Media ) เพื่อให้จุลินทรีย์ชนิดไร้อากาศ(Anaerobic Bacteria) จะบำบัดน้ำที่ผ่านจาก Septic Zone เพื่อการย่อยสลายสารอินทรีย์ยึดเกาะเป็นฟิล์มชีวภาพให้มีประสิทธิภาพดียิ่ง ขึ้น น้ำที่ผ่านการบำบัดจะมีค่าบีโอดีต่ำ สามารถปล่อยสู่แหล่งน้ำสาธารณะได้
ส่วนที่ 3. Fixed Film Aeration Zone เป็นส่วนที่ย่อยสลายสารอินทรีย์แบบเติมอากาศ ภายในส่วนนี้จะมีตัวกลาง( Bio cell) เพื่อให้จุลินทรีย์ชนิดใช้อากาศ(aerobic Bacteria) จะบำบัดน้ำ ที่ผ่านจาก Septic Zone เพื่อการย่อยสลายสารอินทรีย์ยึดเกาะเป็นฟิล์มชีวภาพให้มีประสิทธิภาพดียิ่ง ขึ้น ในส่วนนี้จะมีประสิทธิภาพในการบำบัดถึง 80-85 %น้ำที่ผ่านการบำบัดจะมีค่าบีโอดีต่ำ สามารถปล่อยสู่แหล่งน้ำสาธารณะได้
ส่วนที่ 4. Sedimentetion Zone หลักการทำงานของส่วนตกตะกอน เพื่อแยกตะกอนจุลินทรีย์ออกจากน้ำที่บำบัดแล้วให้ได้น้ำใส ก่อนระบายลงสู่ลำรางสาธารณะต่อไป

 

ตารางรายละเอียดของถังบำบัดน้ำเสียไฟเบอร์กลาสชนิดเกรอะ/กรองไร้อากาศ/ตกตะกอน

รุ่น
Model

 Maximium
Flow

(Cu.M./Day)

 Optimium
Flow

(Cu.M./Day)

ความกว้าง
Diameter
(m.)

ความสูง
Heigth
(m.)

ความยาว
Length
(m.)

ขนาดท่อ
Pipe
Size

ท่อระบาย
Air
Vent

SAFE-10,000

10

8

2.00

2.20

3.50

6"

2"

SAFE-15,000

15

12

2.00

2.20

5.10

6"

2"

SAFE-20,000

20

16

2.00

2.20

6.70

6"

2"

SAFE-25,000

25

20

2.00

2.20

8.30

6"

2"

SAFE-30,000

30

24

2.50

2.70

6.50

6"

2"

SAFE-35,000

35

28

2,50

2.70

7.60

6"

2"

SAFE-40,000

40

32

2.50

2.70

8.60

6"

2"

SAFE-50,000

50

40

2.50

2.70

10.42

6"

2"

SAFE-60,000

60

48

2.50

2.70

12.60

6"

2"

 

หลักการทำงานของถังบำบัดน้ำเสียรวมส่วนเกรอะ ส่วนกรองชนิดไม่เติมอากาศ
ส่วนประกอบถัง

1. ท่อน้ำเข้า INLET
2. ข้อต่ออ่อน FLEXIBLE JOINT
3. ท่อน้ำออก OUTLET
4. คอและฝาถัง MANHOLE & COVER
5. ผนังกั้นห้องภายในถัง INTERNAL WALL
6. ตัวกลางพลาสติกชนิดมีพื้นที่ผิวสูง แบบ CROSS FLOW
7. ท่อระบายอากาศ AIRVENT
8. ขาตั้ง STAND

ส่วนเกรอะ SEPTIC CHAMBER
ออกแบบให้มีประสิทธิภาพในการแยกกากหนักและกากเบาออกจากน้ำเสีย ก่อนไหลเข้าสู่ส่วนบำบัดอื่นต่อไป

ส่วนกรองไร้อากาศ ANAEROBIC FILTERTRATION CHAMBER
เป็น ขบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ โดยอาศัยแบคทีเรียชนิดไม่ใช้อากาศ ( ANAEROBIC BACTERIA ) ซึ่งสามารถลดความสกปรกได้อย่างมีประสิทธิภาพ แบคทีเรียที่เกาะอยู่บนตัวกลางพลาสติก (CROSS FLOW)ชนิดที่มีความเหมาะสมระหว่างพื้นผิว และช่องว่าง อีกทั้งมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน จึงไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนตลอดอายุการใช้งาน

สำหรับน้ำเสียชุมชน(Domestic Waste) BOD in = 250 mg/l ,BOD out =20 mg/l

อุปกรณ์มาตรฐาน (Standard Equipment)


ฝาถัง : Manhole
พร้อมชุดแหวนรอง ทำจากวัสดุเอบีเอส(ABS)



ท่ออ่อน : (Flexible Joint)
ใช้ต่อเข้ากับท่อน้ำเข้าและออกจากถังรองรับการบิดตัวของท่อ

ตัวกลางชีวภาพ:Biomedia 
ชนิดpall ringผลิตจากวสดุโพลีเอททีลีน สำหรับเพิ่มความหนาแน่นของจุลินทรีย์

ข้อควรรู้ 1 เมตร =100 เซนติเมตร, 1000 ลิตร=1 ลูกบาศก์เมตร